คำถามท้ายบทที่2
1.จงอธิบายองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และหน้าที่การทำงานของแต่ละองค์ประกอบ
ตอบ 1.ฮาร์ดแวร์ เป็นส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถจับต้องได้ มองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งอุปกรณ์ภายในตัวเครื่องและอุปกรณ์ภายนอกตัวเครื่อง แบ่งส่วนประกอบพื้นฐานเป็น 5 หน่วย และแต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกันดังนี้
1.1 หน่วยรับข้อมูล/คำสั่ง ทำหน้าที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้าสู้เครื่องคอมพิวเตอร์
1.2 หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู ทำหน้าที่ในการทำงานตามคำสั่งที่ปรากฎอยู่ในโปรแกรม
1.3 หน่วยความจำสำรอง ทำหน้าที่เก็บข้อมูล
1.4 หน่วยแสดงผล ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
2.ซอฟต์แวร์ เป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ตามที่ต้องการ
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ มี 2 ประเภท คือ
- ระบบปฏิบัติการ ทำหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์
- โปรแกรมอรรถประโยชน์ มีคุณสมบัติในการใช้งานที่หลากหลาย เช่น โปรแกรมรักษาหน้าจอ
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ มี 2 ประเภท คือ
- ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมด้านการคำนวณราคาค่าน้ำของแต่ละบ้าน
- ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป ออกแบบมาสำหรับงานทั่วไป
3.บุคลากร สามารถแบ่งตามหน้าที่ได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
3.1 กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป เป็นผู้ปฏิบัติหรือกำหนดความต้องการในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์
3.2 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
- ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้ใช้งานได้ตามปกติ
- นักวิเคราะห์ระบบ มีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ว่าต้องการระบบโปรแกรมงานอย่างไร
- นักเขียนโปรแกรม ทำหน้าที่เขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ
- วิศวกรซอฟต์แวร์ ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นอย่างมีแบบแผน
- ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก มีหน้าที่ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร
3.3 กลุ่มผู้บริหาร
- ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่กำหนดทิศทางนโยบาย
- หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ดูแลและกำกับงานทางด้านคอมพิวเตอร์
4.ข้อมูลและสารสนเทศ
4.1 ข้อมูล มี 5 ประเภทคือ
- ข้อมูลตัวเลข
- ข้อมูลตัวอักษร
- ข้อมูลเสียง
- ข้อมูลภาพ
- ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว
4.2 สารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว
2.จงอธิบายนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งานมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องอย่างไรบ้าง
ตอบ -นักวิเคราะห์ระบบมีหน้าที่ดีกว่าความต้องการของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหารของหน่วยงานเพื่อต้องการ ระบบโปรแกรมหรือลักษณะอย่างไร ถ้าจะพัฒนาระบบให้ตรงตามความต้องการมากที่สุดอาจรวมถึงการออกแบบกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรมต่างๆทั้งหมดด้วย
-ผู้ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งจะเป็นพุทธปฏิบัติหรือกำหนดความต้องการให้การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่าทำงานอย่างไรได้บ้างใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไปจะต้องเรียนรู้การใช้งานและวิธีการใช้โปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามต้องการ
3.จงอธิบายหน่วยวัดความจุข้อมุลในระบบคอมพิวเตอร์ตามลำดับจากความจุน้อยไปมาก
ตอบ บิต เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลที่ใช้อยู่ในคอมพิวเตอร์
ไบต์ (Byte) ตัวเลขจำนวน 8 บิต จะรวมกันเข้าเป็น 1 ไบต์
กิโลไบต์ (Kilobyte) มีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์
เมกะไบต์ (Megabyte) มีค่าเท่ากับ 1,048,576 หรือ (1,024 x 1,024 )
กิกะไบต์ (Gigabyte) มีค่าเท่ากับ 1,073,741,824 หรือ (1,024 x 1,024 x 1,024)
เทราไบต์ (Terabyte) 1 เทราไบต์จะเท่ากับ 1,099,511,627,776 หรือ (1024 x 1024 x 1024 x 1024) บิต (Bit) Bin -1024 ไบต์
4.จงอธิบายหน่วยความจำรอมและแรมเหมื่อนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ Ram คือ หน่วยความจำที่ใช้เป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำประเภทที่อ่าน/เขียน ข้อมูลลงไปได้ตลอดเวลา แต่ถ้าไฟดับหรือปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจำจะหายหมดทันที
Rom คือหน่วยความจำที่ไม่มาสามรถที่จะแก้ข้อมูลภายในได้ แต่สามารถที่จะอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว และ สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าจะไม่มีไฟเลี้ยงก็ตาม นั้นคือเมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะอยู่เหมือนเดิม มักจะใช้เพื่อเก็บโปรแกรมเริ่มต้นระบบ เมื่อเปิดสวิตซ์เครื่อง เช่น BIOS ของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือรวมถึงใช้เก็บโปรแกรมทำงานทั้งหมด ในอุปกรณ์ที่ต้องการเก็บโปรแกรมทำงานไว้ในเครื่องแบบถาวร
5.จงอธิบายวงรอบการทำงานของหน่วยประมวลผลมีหลักการทำงานอย่างไร
ตอบ 1เวลาคำสั่งหรือช่วง i time อยู่ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 ส่วนเกี่ยวข้องการดึงเอาคำสั่งและแปลความหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ
2 เวลาปฏิบัติการช่วงหรือ e time อยู่ขั้นตอนที่ 3 และ 4 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคำนวณและนำผลลัพธ์ไปเก็บเพื่อรอให้เรียกใช้
6.จงอธิบายขั้นตอนช่วงE-Time ประกอบด้วยขั้นตอนใดบ้าง
ตอบ ขั้นตอนที่ 1 : Fetch Instruction หน่วยควบคุมเข้าถึง(Access)คำสั่งที่ถูก Execute จากหน่วยความจำ
ขั้นตอนที่ 2 : Decode Instruction คำสั่งถูกตีความ ( Decode) เพื่อให้รู้ว่าต้องทำงานอะไร แล้วข้อมูลที่ต้องใช้ในการ ประมวลผลจะถูกเคลื่อนย้ายจากหน่วยความจำมาเก็บไว้ที่รีจิสเตอร์ (Register) จากนั้นจะกำหนดตำแหน่งของคำสั่งถัดไปทั้งขั้นตอนที่ 1 และ 2 เรียกรวมกันว่า "Instruction Phase" และเวลาที่ใช้ในการกระทำเฟสนี้เรียกว่า "Instruction Time (I-time)"ขั้นตอนที่ 3 : Execute Instruction ALU ปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ตีความได้ ไม่ว่าจะเป็นการคำนวณทางคณิตศาสตร์หรือการ เปรียบเทียบขั้นตอนที่ 4 : Store Results เก็บผลลัพธ์ที่ประมวลผลได้ลงในหน่วยความจำทั้ง
ขั้นตอนที่ 3 และ 4 เรียกรวมกันว่า "Execution Phase"เป็นช่วงเวลาที่คอมพิวเตอร์กระทำตามคำสั่งในชุดคำสั่งชุดหนึ่ง ๆ เริ่มนับแต่การไปนำข้อมูลมา (fetch) การถอดรหัส (decode) และการกระทำการ (execute) ตามข้อความสั่งนั้นๆ และเวลาที่ใช้ในการกระทำเฟสนี้ เรียกว่า "Execution Time (E-time)"
ตอบ 1.ฮาร์ดแวร์ เป็นส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถจับต้องได้ มองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งอุปกรณ์ภายในตัวเครื่องและอุปกรณ์ภายนอกตัวเครื่อง แบ่งส่วนประกอบพื้นฐานเป็น 5 หน่วย และแต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกันดังนี้
1.1 หน่วยรับข้อมูล/คำสั่ง ทำหน้าที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้าสู้เครื่องคอมพิวเตอร์
1.2 หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู ทำหน้าที่ในการทำงานตามคำสั่งที่ปรากฎอยู่ในโปรแกรม
1.3 หน่วยความจำสำรอง ทำหน้าที่เก็บข้อมูล
1.4 หน่วยแสดงผล ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
2.ซอฟต์แวร์ เป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ตามที่ต้องการ
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ มี 2 ประเภท คือ
- ระบบปฏิบัติการ ทำหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์
- โปรแกรมอรรถประโยชน์ มีคุณสมบัติในการใช้งานที่หลากหลาย เช่น โปรแกรมรักษาหน้าจอ
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ มี 2 ประเภท คือ
- ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมด้านการคำนวณราคาค่าน้ำของแต่ละบ้าน
- ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป ออกแบบมาสำหรับงานทั่วไป
3.บุคลากร สามารถแบ่งตามหน้าที่ได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
3.1 กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป เป็นผู้ปฏิบัติหรือกำหนดความต้องการในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์
3.2 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
- ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้ใช้งานได้ตามปกติ
- นักวิเคราะห์ระบบ มีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ว่าต้องการระบบโปรแกรมงานอย่างไร
- นักเขียนโปรแกรม ทำหน้าที่เขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ
- วิศวกรซอฟต์แวร์ ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นอย่างมีแบบแผน
- ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก มีหน้าที่ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร
3.3 กลุ่มผู้บริหาร
- ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่กำหนดทิศทางนโยบาย
- หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ดูแลและกำกับงานทางด้านคอมพิวเตอร์
4.ข้อมูลและสารสนเทศ
4.1 ข้อมูล มี 5 ประเภทคือ
- ข้อมูลตัวเลข
- ข้อมูลตัวอักษร
- ข้อมูลเสียง
- ข้อมูลภาพ
- ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว
4.2 สารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว
2.จงอธิบายนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งานมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องอย่างไรบ้าง
ตอบ -นักวิเคราะห์ระบบมีหน้าที่ดีกว่าความต้องการของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหารของหน่วยงานเพื่อต้องการ ระบบโปรแกรมหรือลักษณะอย่างไร ถ้าจะพัฒนาระบบให้ตรงตามความต้องการมากที่สุดอาจรวมถึงการออกแบบกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรมต่างๆทั้งหมดด้วย
-ผู้ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งจะเป็นพุทธปฏิบัติหรือกำหนดความต้องการให้การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่าทำงานอย่างไรได้บ้างใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไปจะต้องเรียนรู้การใช้งานและวิธีการใช้โปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามต้องการ
3.จงอธิบายหน่วยวัดความจุข้อมุลในระบบคอมพิวเตอร์ตามลำดับจากความจุน้อยไปมาก
ตอบ บิต เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลที่ใช้อยู่ในคอมพิวเตอร์
ไบต์ (Byte) ตัวเลขจำนวน 8 บิต จะรวมกันเข้าเป็น 1 ไบต์
กิโลไบต์ (Kilobyte) มีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์
เมกะไบต์ (Megabyte) มีค่าเท่ากับ 1,048,576 หรือ (1,024 x 1,024 )
กิกะไบต์ (Gigabyte) มีค่าเท่ากับ 1,073,741,824 หรือ (1,024 x 1,024 x 1,024)
เทราไบต์ (Terabyte) 1 เทราไบต์จะเท่ากับ 1,099,511,627,776 หรือ (1024 x 1024 x 1024 x 1024) บิต (Bit) Bin -1024 ไบต์
4.จงอธิบายหน่วยความจำรอมและแรมเหมื่อนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ Ram คือ หน่วยความจำที่ใช้เป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำประเภทที่อ่าน/เขียน ข้อมูลลงไปได้ตลอดเวลา แต่ถ้าไฟดับหรือปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจำจะหายหมดทันที
Rom คือหน่วยความจำที่ไม่มาสามรถที่จะแก้ข้อมูลภายในได้ แต่สามารถที่จะอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว และ สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าจะไม่มีไฟเลี้ยงก็ตาม นั้นคือเมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะอยู่เหมือนเดิม มักจะใช้เพื่อเก็บโปรแกรมเริ่มต้นระบบ เมื่อเปิดสวิตซ์เครื่อง เช่น BIOS ของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือรวมถึงใช้เก็บโปรแกรมทำงานทั้งหมด ในอุปกรณ์ที่ต้องการเก็บโปรแกรมทำงานไว้ในเครื่องแบบถาวร
5.จงอธิบายวงรอบการทำงานของหน่วยประมวลผลมีหลักการทำงานอย่างไร
ตอบ 1เวลาคำสั่งหรือช่วง i time อยู่ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 ส่วนเกี่ยวข้องการดึงเอาคำสั่งและแปลความหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ
2 เวลาปฏิบัติการช่วงหรือ e time อยู่ขั้นตอนที่ 3 และ 4 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคำนวณและนำผลลัพธ์ไปเก็บเพื่อรอให้เรียกใช้
6.จงอธิบายขั้นตอนช่วงE-Time ประกอบด้วยขั้นตอนใดบ้าง
ตอบ ขั้นตอนที่ 1 : Fetch Instruction หน่วยควบคุมเข้าถึง(Access)คำสั่งที่ถูก Execute จากหน่วยความจำ
ขั้นตอนที่ 2 : Decode Instruction คำสั่งถูกตีความ ( Decode) เพื่อให้รู้ว่าต้องทำงานอะไร แล้วข้อมูลที่ต้องใช้ในการ ประมวลผลจะถูกเคลื่อนย้ายจากหน่วยความจำมาเก็บไว้ที่รีจิสเตอร์ (Register) จากนั้นจะกำหนดตำแหน่งของคำสั่งถัดไปทั้งขั้นตอนที่ 1 และ 2 เรียกรวมกันว่า "Instruction Phase" และเวลาที่ใช้ในการกระทำเฟสนี้เรียกว่า "Instruction Time (I-time)"ขั้นตอนที่ 3 : Execute Instruction ALU ปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ตีความได้ ไม่ว่าจะเป็นการคำนวณทางคณิตศาสตร์หรือการ เปรียบเทียบขั้นตอนที่ 4 : Store Results เก็บผลลัพธ์ที่ประมวลผลได้ลงในหน่วยความจำทั้ง
ขั้นตอนที่ 3 และ 4 เรียกรวมกันว่า "Execution Phase"เป็นช่วงเวลาที่คอมพิวเตอร์กระทำตามคำสั่งในชุดคำสั่งชุดหนึ่ง ๆ เริ่มนับแต่การไปนำข้อมูลมา (fetch) การถอดรหัส (decode) และการกระทำการ (execute) ตามข้อความสั่งนั้นๆ และเวลาที่ใช้ในการกระทำเฟสนี้ เรียกว่า "Execution Time (E-time)"
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น